PBL ชั้นอนุบาล 1 Q2/2559 | หน่วย:
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาบูรณาการ (Problem Based Learning) โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา © 2016 Lamplaimat Pattana School
Main
หน่วย
“ครอบครัว ป.ปลาหรรษา”
ระดับชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 2) ปีการศึกษา 2559
หน่วย : ครอบครัว ป.ปลาหรรษา
Big Question (คำถามหลัก) : บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
ภูมิหลังที่มาของปัญหา : การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีความซับซ้อนและเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันโครงสร้างและรูปแบบของครอบครัวซึ่งเคยเป็นครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น
ขนาดครอบครัวเริ่มเล็กลง
ครอบครัวไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
สถานบันครอบครัวซึ่งเคยเป็นทุนทางสังคม มีระบบเครือญาติ
ที่ความผูกพันอย่างใกล้ชิดมีความเกื้อกูล เอื้ออาทร และการอบรม ขัดเกลาบุตรหลาน
การปลูกฝังวัฒนธรรมและค่านิยมประเพณี กลับอ่อนแอลง
ซึ่งมีผลต่อปฏิสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกครอบครัว การที่ไม่อาจปรับตัวให้เข้ากับสภาพเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ส่งผลกระทบให้ครอบครัวไม่อาจรับผิดชอบบทบาทหน้าที่ของตนเองได้อย่างเต็มที่
ทำให้ไม่มีเวลาพูดคุยปรึกษาหารือกัน
เกิดความห่างเหินของคนในครอบครัวก่อให้เกิดความไม่เข้าใจกัน
ส่งผลให้เกิดปัญหาครอบครัว การหย่าร้างการถูกทอดทิ้งและส่งผลกระทบต่อเด็กในเรื่องของจิตใจและก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมตามมา
ดังนั้น
จึงเป็นสิ่งสำคัญที่โรงเรียน และครูจึงต้องออกแบบการเรียนรู้ให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง
นักเรียนสามารปรับตัว ให้เท่าทันกับสถานการณ์
สามารถดูแลตัวเองได้ เข้าใจต่อบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว
และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
เป้าหมาย (Understanding
Goal) : นักเรียนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และสมาชิกในครอบครัว สามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคมอยู่และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ได้อย่างมีความสุข
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ (ProblemBasedLearning)(PBL)
หน่วย: “ ครอบครัว ป.ปลาหรรษา ” ระดับชั้นอนุบาล 1 (Quarter 2) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week |
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
8 – 12 ส. ค. 59
|
โจทย์
: ปรับตัว / สร้างแรง
Key Questions : นักเรียนเห็นอะไร
แล้วได้เรียนรู้อะไรจากการเดินสำรวจ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms : ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและได้ฟังจากการเดินสำรวจ
Wall Thinking
: ใบงานวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงานปั้นดินน้ำมันตามจินตนาการ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-นิทานเรื่อง
“ทำไมแม่รักผมล่ะครับ”
-
เพลง สวัสดี
|
- ครูทบทวนวิถี
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆรอบ
บริเวณโรงเรียน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนเห็นอะไรและได้เรียนรู้อะไรจากการเดินสำรวจ
มีครอบครัวใครบ้าง ?( เช่น ครอบครัวพี่ปัญญาเรณู , ครอบครัวไก่ , ครอบครัวเป็ด , ครอบครัวห่าน , ครอบครัวปลา)
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ทำไมแม่รักผมล่ะครับ”
-
ใบงานวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
- ปั้นดินน้ำมันตามจินตนาการ
-
ใบงานแปลงร่างใบไม้ตามจินตนาการ
-
เกม “ ปลาช่อน ปลาบู่ ”
|
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆ
บริเวณโรงเรียน
ชิ้นงาน
-
ใบงานวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
- ปั้นดินน้ำมันปิดเทอมของหนู(เคยเห็นปลาที่ไหน)
-
ใบงานแปลงร่างใบไม้ปลาที่หนูรู้จัก
|
ความรู้ : นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นสิ่งที่เห็นจกการเดินสำรวจรอบๆ
บริเวณโรงเรียนให้ตนเองและผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
2
15 – 19 ส.ค. 59
|
โจทย์
:
เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
Key Questions
: นักเรียนอยากเรียนรู้อะไร?
ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและได้ฟัง
-
ครูและนักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card
& chart : นักเรียนวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
Think
Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-
นิทานเรื่อง “รอยยิ้มเจ้าหลาม”
|
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูทบทวนวิถี
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนเห็นอะไรและได้เรียนรู้อะไรจากการเดินสำรวจ
- ครูเล่านิทานเรื่อง “รอยยิ้มเจ้าหลาม” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กๆ
อยากเรียนรู้เรื่องปลา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรมากที่สุดทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าหน่วยที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร”
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
ชิ้นงาน
- ใบงานวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปั้นดินน้ำมันปลาที่นักเรียนรู้อยากเป็น
-
ประดิษฐ์โมปลาจากแกนกระดาษทิชชู
|
ความรู้ : นักเรียนสามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้
และต้องการรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิง เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับตนเองได้ สามารถปรับตัว
ร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
3
22 - 26 ส.ค. 59
|
โจทย์
: ประเภท/องค์ประกอบ(สมาชิกในครอบครัว)
Key Questions
:
-
ครอบครัวของนักเรียนมีสมาชิกทั้งหมดกี่คน และมีใครบ้าง?
-
นักเรียนคิดว่าครอบครัวของคนกับครอบครัวของปลาเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับครอบครัวบอกความเหมือนความต่างของสมาชิกในครอบครัว
Wall Thinking
: ประดิษฐ์กรอบรูปหรรษา
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงาน ประดิษฐ์กรอบรูปหรรษา
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-
นิทานเรื่อง “ครอบครัวใหญ่”
-
เพลง “บ้านของฉัน”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ครอบครัวใหญ่” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนสนใจเรื่องปลามากยิ่งขึ้น
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ ในนิทานมีตัวละครใครบ้าง เกิดอะไรขึ้น ถ้าเป็นนักเรียนจะทำอย่างไร? ”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตบ่อปลาหน้าตึกอนุบาล
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง รู้สึกอย่าไร
ในบ่อน้ำมีอะไรอยู่บ้าง นักเรียนคิดว่าปลามีครอบครัวหรือไม่ เพราะเหตุใด
ถ้ามีนักเรียนคิดว่าครอบครัวปลาจะมีใครบ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ บ้านของฉัน”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ เพลงที่นักเรียนได้ร้องไปกล่าวถึงใครบ้าง?
ครอบครัวของนักเรียนมีใครบ้าง? ”
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นประเภทองค์ประกอบ(สมาชิกในครอบครัว)
ชิ้นงาน
-
ใบงานภาพพิมพ์มือสร้างสรรค์แล้วต่อเติมเป็นรูปปลา
-
ปั้นดินน้ำมันครอบครัวของหนู
-วาดภาพวาดภาพระบายสีจากนิทานเรื่องครอบครัวใหญ่
-
ประดิษฐ์กรอบรูปหรรษา
|
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายถึงจำนวนสมาชิกในครอบครัว
บอกความเหมือน/ความต่างของครอบครัวตนเองและครอบครัวของปลาได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
29 ส.ค. – 2 ก.ย. 59
|
โจทย์
: บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติตน
Key Questions :
ทำไมทุกคนต้องมีหน้าที่
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
รวมถึงการปฏิบัติตนต่อสมาชิกในครอบครัว
Wall Thinking
: เขียน
Webสมาชิกนครอบครัว
Show
and Share :นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน”
-
เพลงบ้านของฉัน
-
นิทานเรื่อง คุณแม่นักซัก
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ บ้านของฉัน”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ เพลงที่นักเรียนได้ร้องไปกล่าวถึงใครบ้าง?
ครอบครัวของนักเรียนมีใครบ้าง? ”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ ครอบครัวของนักเรียนมีสมาชิกกี่คน มีใครบ้าง
แต่ละคนมีหน้าที่ทำอะไร? ”
-
นักเรียนจะปฏิบัติตนต่อคนในครอบครัว ( พ่อ แม่ ตา ยา ปู่ ย่า ลุง ป้า น้า อา พี่
น้อง ) อย่างไรจึงจะเหมาะสม? ,
จะช่วยดูแลคนในครอบครัวเราอย่างไร?
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “คุณแม่นักซัก”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “คุณแม่มีหน้าที่ทำอะไร , คุณพ่อมีหน้าที่ทำอะไร , นอกจากคุณแม่แล้วคนในครอบครัวคนอื่นๆ
สามารถซักผ้าเองได้หรือไม่”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ถ้าสมาชิกในครอบครัวไม่รู้จักหน้าที่ของตนเองจะเกิดอะไรขึ้น?
”
-
นักเรียนคิดว่า สมาชิกในครอบครัวของปลามีหน้าที่ทำอะไรบ้าง?
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ชิ้นงาน
-
ประดิษฐ์หุ่นนิ้วมือ Family จากหลอด
-
ใบงานต่อเติมรูปภาพเรขาคณิตให้เป็นบ้าน
-
ปั้นดินน้ำมัน “อาชีพคุณพ่อคุณแม่ของหนู”
|
ความรู้ : นักเรียนสามารถเข้าใจและอธิบายบทบาทหน้าที่ของตนเอง
การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม และนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
5 – 9 ก.ย. 59
|
โจทย์
: บ้าน/ที่อยู่อาศัย
Key Questions
:
-
ทำไมคนเราต้องมีบ้าน?
- บ้านของคนกับปลาเหมือน/หรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
:
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบ้านและที่อยู่อาศัยของคนกับปลา
Wall Thinking
: เขียน Web บ้านของเราเฝ้าดูแล
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
-
ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-
นิทานเรื่อง “บ้านนี้ก็มีหัวใจ”
-
เพลง “เพลงปลาช่อนปลาชะโด”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ บ้านนี้ก็มีหัวใจ ” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การดูแลบ้าน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ ทำไมเราต้องมีบ้าน , ถ้าเราไม่มีบ้านเราจะไปอยู่ที่ไหน , นักเรียนจะช่วยทำให้บ้านของเราน่าอยู่ได้อย่างไร
”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “เพลงปลาช่อนปลาชะโด”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ที่อยู่อาศัยของปลา
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ในเพลงกล่าวถึงปลาชนิดใดบ้าง , นักเรียนรู้จักปลาชนิดใดบ้าง ,
บ้านของปลาช่อนอาศัยอยู่ที่ไหน , (ปลาบางชนิดอยู่ในน้ำ
และอยู่ในรู เช่น ปลาหมอ ปลาไหล บางชนิดสามารถอยู่บนบกได้ เช่น ปลาตีน) ”
-
นักเรียนร่วมกันดูแล ปัดกวาด เก็บของ ภายในและภายนอกอาคารอนุบาล
เพื่อเป็นการปรนิบัตรสถานที่ (บ้าน)
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้เรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบ้านและที่อยู่อาศัยของคนกับปลา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
ชิ้นงาน
-
ใบงานเขียน Web บ้านของเราเฝ้าดูแล
-
ใบงานโยงเส้นจับคู่และระบายสีภาพกับเงาปลา
-
ประดิษฐ์ปลาปักเป้าจากเปลือกไข่
|
ความรู้ :นักเรียนรู้และเข้าใจ
สามารถอธิบายความเหมือน/ต่างของที่อยู่อาศัยของคนกับปลาได้
อีกทั้งสามารถช่วยดูแลที่อยู่อาศัยของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
6
12 –16 ก.ย. 59
|
โจทย์
: อาชีพ/สถานที่
Key Questions : คุณพ่อ
คุณแม่ของนักเรียน และสมาชิกในครอบครัวทำอาชีพอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพของบุคคลในครอบครัว
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์โมบายสื่อรัก
Wall Thinking:เขียน Web อาชีพของคนในครอบครัว
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
เกมแสดงท่าทางต่างๆจากบัตรคำ
-นิทานเรื่อง”สวนหลังบ้าน”
-
นิทานเรื่อง “ ครอบครัวแสนสุข”
-
เพลง “ฉันคือปลา”
|
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “บ้านฟักทอง” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่อาชีพและหน้าที่ของคน
- ครูเล่านิทาน
“สวนหลังบ้าน” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่อาชีพของคนในครอบครัว
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ คุณพ่อ คุณแม่ของนักเรียนมีอาชีพอะไรบ้าง ,
แต่ละอาชีพมีหน้าที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกมแสดงท่าทางต่างๆจากบัตรคำอาชีพ
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ ครอบครัวแสนสุข”
เพื่อเชื่อมโยงอาชีพและหน้าที่ของบุคคลในครอบครัว
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “จะเกิดอะไรขึ้นถ้าทุกคนไม่ทำงาน หรือ
ทำงานอาชีพเดียวกันทั้งหมด”
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพของบุคคลในครอบครัวเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน Web อาชีพของคนในครอบครัว
-
ประดิษฐ์โมปลาสายรุ้ง
|
ความรู้ : นักเรียนรู้และเข้าใจ
สามารถอธิบายอาชีพของบุคคลในครองครัวได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
7
19 – 23 ก.ย. 59
|
โจทย์
: ความหมาย คุณค่า
และความสำคัญครอบครัว
Key Questions :
นักเรียนคิดว่าครับครัวสำคัญอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น
ความหมาย คุณค่า และความสำคัญของครอบครัวคนและครอบครัวปลา
Wall Thinking : ใบงาน My Family
Show
and Share :นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
-
ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-
เพลง บ้านของฉัน
-
นิทานเรื่อง “บอลลูน”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “ บ้านของฉัน” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ความหมาย
คุณค่า และความสำคัญของบ้าน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ นักเรียนคิดว่าครอบครัวสำคัญอย่างไร
, ถ้าไม่มีครอบครัวจะเป็นอย่าไร ”
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“บอลลูน”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทานเรื่องฟัง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคำว่าครอบครัวอบอุ่นจะเป็นอย่างไร,นักเรียนมีส่วนช่วยให้ครอบครัวมีความสุขได้อย่าไร,นักเรียนจะช่วยครอบครัวของปลาให้มีความสุข
ได้อย่างไร
”
- ทบทวนการบ้าน
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมาย คุณค่า และความสำคัญของครอบครัวได้
ชิ้นงาน
-
ใบงาน My Family Tree
- ปั้นดินน้ำมันครอบครัวแสนสุข
- ประดิษฐ์บ้านจากกล่องนม
|
ความรู้
: นักเรียนสามารถอธิบาย ความหมาย
คุณค่า และความสำคัญของครอบครัวได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
8
26 – 30 ก.ย. 59
|
โจทย์
:
ความสำพันธ์ของครอบครัว ชุมชน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
Key Questions
: ถ้านักเรียนอยู่บนโลกนี้เพียงลำพังจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms:
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำพันธ์ของครอบครัว ชุมชน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
Show
and Share:
นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์ชิ้นงานตู้ปลาแห่งความรัก
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-
นิทาน เรื่อง”ปลาสายรุ้ง , เพื่อนรักในป่าใหญ่
”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูทบทวนวิถี
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ ปลาไหลกินไม่อั้น ”
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ ถ้านักเรียนเป็นปลาสายรู้งจะทำอย่างไร , รู้สึกอย่างไร ?
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “ เพื่อนรักในป่าใหญ่ ”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ ถ้าวันหนึ่งนักเรียนต้องอยู่บ้านคนเดียวจะเป็นอย่างไร
“
-
คน ปลา พืช สัตว์อื่นๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
-
ครูและนักเรียนร่วมกันคิดเมนูอาหาร
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ อาหารที่ทำจากปลาได้แก่อะไรบ้าง ,
นักเรียนเคยรับประทานที่ไหน ,
ถ้านักเรียนจะนำปลามาประกอบอาหาร นักเรียนอยากทำอาหารแบบใด?
-ครูและนักเรียนร่วมกันประกอบอาหาร
“ปลาทูลุยสวน”
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำพันธ์ของครอบครัวชุมชน
และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
-ครูและนักเรียนร่วมกันประกอบอาหาร
“ปลาทูลุยสวน”
ชิ้นงาน
-
ปั้นดินน้ำมัน “เพื่อนบ้านของฉัน”
-
ใบงานปะติดปลาสายรุ้งจากเกร็ดปลา
-
ชิ้นงานตู้ปลาแห่งความรัก
|
ความรู้ : นักเรียนรู้และเข้าใจ
สามารถอธิบายความเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ชุมชนและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
รวมทั้งการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
9
3 – 7 ก.ย. 59
|
โจทย์
: สรุปองค์ความรู้
Key Questions
:
-
จัดนิทรรศการ
-
การแสดงละคร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย
“ครอบครัว ป.ปลาตากลม ”?
-
นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “ครอบครัว ป.ปลาตากลม ”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
all Thinking : เขียน Web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหน่วย
“ครอบครัว
ป.ปลาตากลม”
Show
and Share: การแสดงละครเรื่อง “ปลาสายรุ้ง”
Wผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
-
ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรเกี่ยวกับหน่วย “ครอบครัว
ป.ปลาตากลม”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน
Quarter นี้?
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเผยแพร่ความรู้
หน่วย “ครอบครัว ป.ปลาตากลม
-
การวางแผน แสดงละคร / ร้องเพลง / เต้นประกอบเพลง
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน Web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหน่วย
“ครอบครัว ป.ปลาตากลม”
-
แสดงละครเรื่อง “ปลาสายรุ้ง”
-
เต้นประกอบเพลง
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “ครอบครัว ป.ปลาตากลม”
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ชี้ให้เห็นคุณค่าและมีทักษะการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “ ครอบครัวป.ปลาหรรษา” ระดับชั้นอนุบาล 1 ภาคเรียนที่ 1 / 2559 Quarter
2
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1. ปรับตัว / สร้างแรง
- วิถีอนุบาล
- การทำกิจวัตรประจำวันที่โรงเรียน
2. นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วย
- บอกสิ่งที่รู้แล้ว
- บอกสิ่งที่อยากเรียนรู้
3. ประเภท/องค์ประกอบ(สมาชิกในครอบครัว)
- สมาชิกในครอบครัว
- ประเภทของครอบครัว
4. บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติตน
- บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
- การปฏิบัติตนต่อบุคคลในครอบครัวและผู้อื่น
5. บ้าน/ที่อยู่อาศัย
- ที่อยู่อาศัยของคน
- ที่อยู่อาศัยของปลา
6. อาชีพ/สถานที่
- อาชีพและสถานที่ทำงานของคนในครอบครัว
7. ความหมาย คุณค่า
และความสำคัญครอบครัว(ครอบครัวใหญ่)
- ความสำคัญของครอบครัว
- ครอบครัวอื่นๆ
เช่น ครอบครัวน้องอนุบาล1
ครอบครัวพี่อนุบาล 2
8. ความสัมพันธ์ของครอบครัว ชุมชน
และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
- ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวและชุมชน
- ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวและปลา
- ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
9. สรุปองค์ความรู้
- สรุปองค์ความรู้
- เผยแพร่สิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย
ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้,
สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ
เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ
กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ,
ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ,
เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย
สุขนิสัยที่ดี และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแล้วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน
ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Share ผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด
การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ
เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์
เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย
ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ
การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1
แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2
มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม
และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2
ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด อดออม และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู
เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2
ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3
ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2
มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8
อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1
ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2
มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ
ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1
สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10
มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2
มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11
มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง /
เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12
มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “ ครอบครัว ป.ปลาหรรษา ”
กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
- พับกระดาษ
- ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
- ประกอบอาหาร
- เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา เกมการละเล่น เช่น
การโยน-รับลูกบอล เป็นต้น
-
การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น เคลื่อนไหวประกอบเพลง ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน การวิ่ง
การกระโดด
- การดึง การดัน
การจับ การขว้าง การเตะ
-
การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อย
- การต่อบล็อก
- การระบายสี
- การติดกระดุม
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม กีฬา
เช่น การรับ-การโยน
-
การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น
การรับประทานอาหาร
การแต่งกาย
การสวมใส่รองเท้า ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง การทำท่าทางประกอบ
- การฟังนิทาน การเล่านิทาน
-
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น
เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู เล่นเครื่องเล่น ฯลฯ
- การเล่น การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน การรอคอย
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ
-
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การรู้บทบาทหน้าที่
- ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ภาษาสื่อความหมาย
และความคิด
-
การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น
สี ขนาด รูปร่าง
เป็นต้น
- การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ
รอบตัว
-
การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ
ได้แก่ ตา หู
จมูก ลิ้น และผิวหนัง
- การสนทนาถาม-ตอบ
- การอธิบาย การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- เกมการศึกษา
- การทดลอง ฯลฯ
|
||
เชื่อมโยงหน่วย “ ครอบครัว
ป.ปลาตาหรรษา ” กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด
สี น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม
ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
- ท่าทาง สีหน้า อารมณ์
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น Sit
down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง เข้าใจความหมาย สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name
? My
name is…….. What is this ? It’s
a…….
What do like
? I like ……………
- ร้องเพลง เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น เกี่ยวกับอวัยวะ เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
/ ไม่มีชีวิต ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
- เขียนประโยคตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง
ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ /
นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตัวเรา
รู้จักชื่อ นามสกุล
รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด
ปลอดภัย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1. หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง
5
4. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
5. หน่วยอาหาร
|
บุคคลและสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา
ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1.
หน่วยครอบครัว
2.
หน่วยโรงเรียน
3.
หน่วยชุมชน
4.
หน่วยบุคคลสำคัญ
5.
หน่วยเมืองไทย
6.
หน่วยวันสำคัญ เช่น วันพ่อ
วันแม่ วันครู วันเด็ก ฯลฯ
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มี ชีวิต
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น
ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
ฯลฯ
หน่วยสาระ
1.
หน่วยสัตว์
2.
หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4.
หน่วยพืช ผัก ผลไม้
5.
หน่วยดอกไม้
6. หน่วยอากาศ
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยตาวิเศษ
|
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด
รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก
ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว
สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1.
หน่วยการคมนาคม
2.
หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6.
หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7.
หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)